ท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์

Ku Daeng

Located in wat Kut Yang, it is an ancient site of the Khmer period. Currently, only the indented square base made from laterite remains. There are traces of stairs leading up on all 4 sides. A lintel carved with a picture of Krishna fighting with an elephant was found. The northern part was converted by the temple to create a seated Buddha image, with stairs leading up to cover the original building. This archaeological site was built around AD 11 in line with the Khmer art of Baphuon. Activities not to be missed – Seeing and photographing ancient Khmer sites Address: tambon Talat Rang, amphoe Ban Khwao, Chaiyaphum province 36170 Opening hours: 6 am – 6 pm Recommended tourist season: all seasons How to get there: From Chaiyaphum city, take Highway No. 225 through amphoe Ban Khwao until reaching Ban Lum Pho. Then turn right to Ban Kut Yang for another 8 km. พิกัดการเดินทาง/GPS : https://goo.gl/maps/tDEycVq9HdCaFetU9

Chao Pho Phaya Lae Shrine

Located near Nong Pla Thao swamp, it is about 3 km from Chaiyaphum city, taking a separate entrance from the main road from Chaiyaphum-Ban Khwao, turn right into Nong Pla Thao. At the water’s edge is a large tamarind tree which is said to be where Phraya Phakdi Chumphon (Lae) had been killed by Vientiane soldiers in 1826. A wooden shrine was built under the tamarind tree. Later in 1968, the residents of Chaiyaphum province built the Chao Pho Phaya Lae shrine to house a statue of him inside to whom the people of Chaiyaphum can pay respect. Activities not to be missed – Paying respect to the Chao Pho Phaya Lae shrine Address: Haruethai Road, tambon Nai Mueang, amphoe Mueang Chaiyaphum, Chaiyaphum province 36000 Opening hours: Every day from 6 am – 6 pm Suggested tourist season: All seasons How to get there: From the city hall, take Highway No. 225 for 3 km. Tel: 044-835-030 พิกัดการเดินทาง/GPS : https://goo.gl/maps/kVowDZuyCFMuwctaA

Ban Kut Ngong boundary marker

It is a large boundary marker over 2 m high, made of red sandstone, carved in patterns on allegory and images of Bodhisattva. Some of them have inscriptions of the Pallava script of South India. They are found in large numbers around the village, therefore kept within the temple pavilion around Wat Kut Ngong near Wat Kut Ngong school. The markers were used to determine the boundaries of the monks’ rituals. Activities not to be missed – Seeing over 30 pieces of ancient Dvaravati art of large boundary markers Address: tambon Bung Khla, amphoe Mueang, Chaiyaphum province 36000 Opening hours: Every day from 8 am – 5 pm Recommended travel season: All seasons How to get there: From Chaiyaphum city, take Highway No. 202 for about 12 km, turn right for another 3 km to Ban Kut Tum, then turn right to the route Kut Tum – Bung Khla, another 4 km. พิกัดการเดินทาง/GPS : https://goo.gl/maps/gfVBsELbagwR8drs6

Phra Thaen Banlang

It is a bronze Buddha image on a rectangular sandstone base with a hole in the middle to support the statue of the Buddha image and the edge of the groove to allow water to flow when bathing it. There is a story that goes on that Khun Sarai caught the culprit going into the dense forest and saw a Buddha image placed beside a sandstone platform and surrounded by parapets in 8 directions, so the villagers renovated this place. Later it was moved to the temple, causing unusual things in the village. Then it was brought back to the original place and restored it for worshipping. Activities not to be missed – Worshipping Phra Thaen Banlang Address: tambon Ban Thaen, amphoe Ban Thaen, Chaiyaphum province 36190 Opening hours: daily from 6 am – 6 pm Recommended tourist season: all seasons How to get there: from Ban Thaen district office, travel east on Highway No. 2187 for 1.5 km. พิกัดการเดินทาง/GPS : https://goo.gl/maps/fXfQavkgpxHmLARS6

Phra That Nong Sam Muen

          It looks like a chedi with twelve indented corners. Located on a square base, it is one of the most important and interesting archaeological sites. The relics are beautiful and complete, from the architecture and art that blends between Lanna, Lan Xang and Ayutthaya. It is assumed that it was built during the reign of King Chai Chetthathirat of the Lan Xang Kingdom. The site of Phra That Nong Sam Muen was originally a large ancient city in the Dvaravati period, around the AD 7-11. Address : Tambon Ban Kaeng, Amphoe Phu Khiao, Chaiyaphum 36110 พิกัดการเดินทาง/GPS : https://goo.gl/maps/ktUYMwqQq6RKwe7S6

Wat Sila At

There are 9 Buddha images inscribed, which is the origin of the name “Phu Phra”. A large Buddha image is called “Phra Chao Ong Tue” by the locals. Nearby there are 7 Buddha images engraved around a sandstone pillar and a 7-inch black sandstone Buddha image with the same characteristics as Phra Ong Tue in front of another. The Fine Arts Department has registered it as an ancient monument and antiquities. Activities not to be missed – Paying homage to Phra Chao Ong Tue – Visiting the sacred pond behind the Buddha image Address: Village No. 6, Ban Na Kai Sao, Chaiyaphum-Phu Khiao Road , Tambon Na Siew, amphoe Mueang, Chaiyaphum Province 36000 Opening hours: Every day from 8 am – 5 pm Recommended travel season: All seasons How to get there: From Chaiyaphum city, follow Highway No. 201 (Chaiyaphum-Kang Kro) for about 15 km and turn left along Na Siew-Huai Chan Road for about 5 km and turn left to the temple for another 1 km. พิกัดการเดินทาง/GPS : https://goo.gl/maps/QCE1eZrfVUHaKDQDA

อนุสาวรีย์พระยาภักดีชุมพล (แล)

ตั้งอยู่กลางวงเวียนศูนย์ราชการ ในตัวเมือง ชาวชัยภูมิได้ ร่วมกันสร้างขึนเพื่อเป็นอนุสรณ์แด่เจ้าเมืองคนแรกของ ชัยภูมิ พระยาภักดีชุมพล เดิมชื่อ”แล” เป็นชาวนครเวียงจันทน์ เคยรับราชการเป็นพี่เลียงราชบุตรในเจ้าอนุวงศ์แห่ง อาณาจักรล้านช้าง (ขณะนันเป็นประเทศราชของไทย) ในสมัยรัชกาลที่ 2 พ.ศ. 2360 นายแลได้อพยพไพร่พล ข้ามแม่นาโขงมาตังบ้านเรือนที่บ้านนาขุ่นหนองอีจาน (อยู่ในเขตอาเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา) ต่อมาได้ ย้ายไปตังใหมที่บ้านโนนนาอ้อม บ้านชีลอง (อยู่ในเขต อาเภอเมืองชัยภูมิ) และได้ทาราชการส่งส่วยต่อเจ้า อนุวงศ์ เจ้าอนุวงศ์จึงตังให้นายแลเป็นที่ขุนภักดีชุมพล นายกองนอก ใน พ.ศ. 2365 ขุนภักดีชุมพลได้ย้ายชุมชน มาอยู่ที่บ้านหลวง ซึ่งอยู่ระหว่างบ้านหนองหลอดกับ บ้านหนองปลาเฒ่า ในเขตอาเภอเมืองชัยภูมิปัจจุบัน เนื่องจากสถานที่เดิมเริ่มคับแคบ ไม่พอกับจานวน พลเมืองที่เพิ่มขึน พ.ศ. 2367 ได้ที่การพบบ่อทองที่ บริเวณลาห้วยชาด นอกเขตบ้านหลวง ขุนภักดีชุมพลจึง ได้นาทองในบ่อนีไปส่วยแก่เจ้าอนุวงศ์และขอยกฐานะ บ้านหลวงขึนเป็นเมือง เจ้าอนุวงศ์จึงประทานชื่อเมืองแก่ ขุนภักดีชุมพลว่า เมืองไชยภูมิ และเลื่อนบรรดาศักดิ์ให้ เป็นพระภักดีชุมพล ทว่าต่อมาพระภักดีชุมพลได้ขอเอา เมืองไชยภูมิขึนตรงต่อเมืองนครราชสีมา และส่งส่วยแก่ กรุงเทพมหานครแทน ไม่ขึนแก่เจ้าอนุวงศ์เวียงจันทน์อีก ต่อไปพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย จึงทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยกบ้านหลวง(เมืองไชยภูมิ) เป็นเมืองชัยภูมิ และแต่งตังพระภักดีชุมพล (แล) เป็น พระยาภักดีชุมพล (แล) เจ้าเมืองชัยภูมิคนแรก สร้าง ความไม่พอใจแก่ทางฝ่ายเวียงจันทน์อย่างมาก ในสมัย รัชกาลที่ 3 พ.ศ. 2369 เจ้าอนุวงศ์ก่อการกบฏต่อ กรุงเทพเพื่อแยกตัวเป็นเอกราช โดยยกทัพเข้าตีเมือง นครราชสีมา แต่เห็นว่าจะทาการต่อไปได้ไม่ตลอด จึง เผาเมืองนครราชสีมาทิง[ต้องการอ้างอิง] และถอนทัพ กลับไปตังรับที่เวียงจันทน์ ระหว่างทางกองทัพเจ้า อนุวงศ์เกิดความปั่นป่วนจากการลุกฮือของครัวเรือนที่ กวาดต้อน ไปเวียงจันทน์ ขณะพักทัพอยู่ที่ทุ่งสาริด พระยาภักดีชุมพล (แล) ได้ยกทัพไปสมทบกับคุณหญิงโมและครัวเรือนชาวเมืองนครราชสีมา ทาการตีกระหนาบ กองทัพของเจ้าอนุวงศ์จนแตกพ่าย เจ้าอนุวงศ์เกิด ความแค้นที่พระยาภักดีชุมพลไม่ยอมให้ความร่วมมือกับ ฝ่ายลาว ซายังยกทัพมาช่วยฝ่ายไทยตีกระหนาบทัพลาว อกี ด้วย จึงย้อนกลับมาเมืองชัยภูมิ จับตัวพระยาภักดีชุม พล (แล) ประหารชีวิต ที่บริเวณใต้ต้นมะขามริมหนอง ปลาเฒ่า การเสียชีวิตของพระยาภักดีชุมพล (แล) ในครั้งนั้นเป็นเหตุการณ์สาคัญที่ชาวเมืองชัยภูมิจดจาตลอดมา และระลึกถึงว่าเป็นวีรกรรมครังสาคัญของท่านต่อมา ชาวเมืองชัยภูมิจึงเรียกขานท่านด้วยความเคารพว่า “เจ้า พ่อพญาแล” และได้มีการสร้างศาลไว้ตรงสถานที่ที่พระ ยาภักดีชุมพล (แล) ถูกประหารชีวิต ที่บ้านหนองปลา เฒ่า อาเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ ริมทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 225 (ชัยภูมิ-บ้านเขว้า) ต่อมาใน พ.ศ. 2511 ทางราชการได้สร้างศาลขึนใหม่ ให้ชื่อว่า “ศาลพระยา ภักดีชุมพล (แล)” และจัดให้มีงานสักการะเจ้าพ่อพญา แลทุกปี โดยเริ่มจากวันพุธ แรกของเดือน 6 เป็นเวลา 7 วัน เรียกว่า “งานเทศกาลบุญเดือนหก ระลึกถึงความดี ของ เจ้าพ่อพญาแล” ถือเป็นงานใหญ่ประจาปีของชาว ชัยภูมิ และใน พ.ศ. 2518 ทางราชการร่วมกับพ่อค้า และประชาชนชาวชัยภูมิ สร้างอนุสาวรีย์ของพระยา ภักดีชุมพล (แล) ประดิษฐานอยู่ตรงวงเวียนศูนย์ราชการ ปากทางเข้าสู่ตัวเมืองชัยภูมิ ลูกหลานของพระยาภักดีชุม พล (แล) ที่ได้รับราชการเป็นเจ้าเมืองชัยภูมิคนต่อ ๆ มา ล้วนได้รับยศและบรรดาศักดิ์เป็นที่พระยาภักดีชุมพลทุก คน รวมทังสิน 5 คน ส่วนเจ้าพ่อพญาแลได้เป็นพระยา ภักดีชุมพลได้ 4 ปี เป็นเจ้าเมืองชัยภูมิถึง 10 ปี กิจกรรมที่ห้ามพลาด – สักการะขอพรกับอนุสาวรีย์พระยาภักดีชุมพล (แล) ที่อยู่ : ตำบลในเมือง อำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ 36000 เวลาเปิดทำการ : ทุกวัน 06.00-18.00 น. ฤดูกาลท่องเที่ยวที่แนะนำ : ทุกฤดู การเดินทาง : ตั้งอยู่กลางวงเวียนศูนย์ราชการในตัวเมือง อำเภอเมืองชัยภูมิ http://park.dnp.go.th E-mail : phulannka_dnp@hotmail.com โทร : 093-093-9193 , 044-109-786 พิกัดการเดินทาง/GPS : https://goo.gl/maps/TXtPGVYtsfzb8qw2A

Prang Ku

It is a form of Khmer architecture in the Bayon style, during the reign of Jayavarman VII. It was one of the most important and perfect hospitals. The pediment and lintel are carved in sandstone, showing the intricacies of creating the image of the four-armed Bodhisattva Avalokitesvara standing in an arch above the pedestal of plants amid the rolling foliage. The people of the community have held a grand gilding ceremony of Phra That Prang Ku every year. Activities not to be missed – The community held the Phra That Prang Ku gilding ceremony around April. It has been practiced for a long time in order to maintain community’s good tradition. Address: tambon Nai Mueang, amphoe Mueang District, Chaiyaphum 36000 Opening hours: There is no exact opening and closing time. Travel season: all seasons How to get there: From the front of Chaiyaphum city hall to the east, follow Bannakarn Road for about 3 km to Prang Ku, which lies next to Wat Prang Ku. พิกัดการเดินทาง/GPS : https://goo.gl/maps/CUYZHzt99KRg6fEeA