อนุสาวรีย์พระยาภักดีชุมพล (แล)

ตั้งอยู่กลางวงเวียนศูนย์ราชการ ในตัวเมือง ชาวชัยภูมิได้ ร่วมกันสร้างขึนเพื่อเป็นอนุสรณ์แด่เจ้าเมืองคนแรกของ ชัยภูมิ
พระยาภักดีชุมพล เดิมชื่อ”แล” เป็นชาวนครเวียงจันทน์ เคยรับราชการเป็นพี่เลียงราชบุตรในเจ้าอนุวงศ์แห่ง อาณาจักรล้านช้าง (ขณะนันเป็นประเทศราชของไทย) ในสมัยรัชกาลที่ 2 พ.ศ. 2360 นายแลได้อพยพไพร่พล ข้ามแม่นาโขงมาตังบ้านเรือนที่บ้านนาขุ่นหนองอีจาน (อยู่ในเขตอาเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา) ต่อมาได้ ย้ายไปตังใหมที่บ้านโนนนาอ้อม บ้านชีลอง (อยู่ในเขต อาเภอเมืองชัยภูมิ) และได้ทาราชการส่งส่วยต่อเจ้า อนุวงศ์ เจ้าอนุวงศ์จึงตังให้นายแลเป็นที่ขุนภักดีชุมพล นายกองนอก ใน พ.ศ. 2365 ขุนภักดีชุมพลได้ย้ายชุมชน มาอยู่ที่บ้านหลวง ซึ่งอยู่ระหว่างบ้านหนองหลอดกับ บ้านหนองปลาเฒ่า ในเขตอาเภอเมืองชัยภูมิปัจจุบัน เนื่องจากสถานที่เดิมเริ่มคับแคบ ไม่พอกับจานวน พลเมืองที่เพิ่มขึน พ.ศ. 2367 ได้ที่การพบบ่อทองที่ บริเวณลาห้วยชาด นอกเขตบ้านหลวง ขุนภักดีชุมพลจึง ได้นาทองในบ่อนีไปส่วยแก่เจ้าอนุวงศ์และขอยกฐานะ บ้านหลวงขึนเป็นเมือง เจ้าอนุวงศ์จึงประทานชื่อเมืองแก่ ขุนภักดีชุมพลว่า เมืองไชยภูมิ และเลื่อนบรรดาศักดิ์ให้ เป็นพระภักดีชุมพล ทว่าต่อมาพระภักดีชุมพลได้ขอเอา เมืองไชยภูมิขึนตรงต่อเมืองนครราชสีมา และส่งส่วยแก่ กรุงเทพมหานครแทน ไม่ขึนแก่เจ้าอนุวงศ์เวียงจันทน์อีก ต่อไปพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย จึงทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยกบ้านหลวง(เมืองไชยภูมิ) เป็นเมืองชัยภูมิ และแต่งตังพระภักดีชุมพล (แล) เป็น พระยาภักดีชุมพล (แล) เจ้าเมืองชัยภูมิคนแรก สร้าง ความไม่พอใจแก่ทางฝ่ายเวียงจันทน์อย่างมาก ในสมัย รัชกาลที่ 3 พ.ศ. 2369 เจ้าอนุวงศ์ก่อการกบฏต่อ กรุงเทพเพื่อแยกตัวเป็นเอกราช โดยยกทัพเข้าตีเมือง นครราชสีมา แต่เห็นว่าจะทาการต่อไปได้ไม่ตลอด จึง เผาเมืองนครราชสีมาทิง[ต้องการอ้างอิง] และถอนทัพ กลับไปตังรับที่เวียงจันทน์ ระหว่างทางกองทัพเจ้า อนุวงศ์เกิดความปั่นป่วนจากการลุกฮือของครัวเรือนที่ กวาดต้อน ไปเวียงจันทน์ ขณะพักทัพอยู่ที่ทุ่งสาริด พระยาภักดีชุมพล (แล) ได้ยกทัพไปสมทบกับคุณหญิงโมและครัวเรือนชาวเมืองนครราชสีมา ทาการตีกระหนาบ กองทัพของเจ้าอนุวงศ์จนแตกพ่าย เจ้าอนุวงศ์เกิด ความแค้นที่พระยาภักดีชุมพลไม่ยอมให้ความร่วมมือกับ ฝ่ายลาว ซายังยกทัพมาช่วยฝ่ายไทยตีกระหนาบทัพลาว อกี ด้วย จึงย้อนกลับมาเมืองชัยภูมิ จับตัวพระยาภักดีชุม พล (แล) ประหารชีวิต ที่บริเวณใต้ต้นมะขามริมหนอง ปลาเฒ่า การเสียชีวิตของพระยาภักดีชุมพล (แล) ในครั้งนั้นเป็นเหตุการณ์สาคัญที่ชาวเมืองชัยภูมิจดจาตลอดมา และระลึกถึงว่าเป็นวีรกรรมครังสาคัญของท่านต่อมา ชาวเมืองชัยภูมิจึงเรียกขานท่านด้วยความเคารพว่า “เจ้า พ่อพญาแล” และได้มีการสร้างศาลไว้ตรงสถานที่ที่พระ ยาภักดีชุมพล (แล) ถูกประหารชีวิต ที่บ้านหนองปลา เฒ่า อาเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ ริมทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 225 (ชัยภูมิ-บ้านเขว้า) ต่อมาใน พ.ศ. 2511 ทางราชการได้สร้างศาลขึนใหม่ ให้ชื่อว่า “ศาลพระยา ภักดีชุมพล (แล)” และจัดให้มีงานสักการะเจ้าพ่อพญา แลทุกปี โดยเริ่มจากวันพุธ แรกของเดือน 6 เป็นเวลา 7 วัน เรียกว่า “งานเทศกาลบุญเดือนหก ระลึกถึงความดี ของ เจ้าพ่อพญาแล” ถือเป็นงานใหญ่ประจาปีของชาว ชัยภูมิ และใน พ.ศ. 2518 ทางราชการร่วมกับพ่อค้า และประชาชนชาวชัยภูมิ สร้างอนุสาวรีย์ของพระยา ภักดีชุมพล (แล) ประดิษฐานอยู่ตรงวงเวียนศูนย์ราชการ ปากทางเข้าสู่ตัวเมืองชัยภูมิ ลูกหลานของพระยาภักดีชุม พล (แล) ที่ได้รับราชการเป็นเจ้าเมืองชัยภูมิคนต่อ ๆ มา ล้วนได้รับยศและบรรดาศักดิ์เป็นที่พระยาภักดีชุมพลทุก คน รวมทังสิน 5 คน ส่วนเจ้าพ่อพญาแลได้เป็นพระยา ภักดีชุมพลได้ 4 ปี เป็นเจ้าเมืองชัยภูมิถึง 10 ปี

กิจกรรมที่ห้ามพลาด
– สักการะขอพรกับอนุสาวรีย์พระยาภักดีชุมพล (แล)

ที่อยู่ : ตำบลในเมือง อำเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ 36000
เวลาเปิดทำการ : ทุกวัน 06.00-18.00 น.
ฤดูกาลท่องเที่ยวที่แนะนำ : ทุกฤดู
การเดินทาง : ตั้งอยู่กลางวงเวียนศูนย์ราชการในตัวเมือง อำเภอเมืองชัยภูมิ
http://park.dnp.go.th
E-mail : phulannka_dnp@hotmail.com
โทร : 093-093-9193 , 044-109-786

พิกัดการเดินทาง/GPS : https://goo.gl/maps/TXtPGVYtsfzb8qw2A

Subscribe
Notify of


0 Comments
Inline Feedbacks
View all comments
Share on facebook
Facebook
Share on twitter
Twitter
Share on email
Email